เทศกาลเชงเม้ง เทศกาลเชงเม้ง เทศกาลเชงเม้ง

 

 

         ในสมัยโบราณนั้น จะมีการประกอบพิธีเชงเม้งด้วยการเซ่นไหว้บรรพบุรุษกันที่สุสานรวมหรือสุสานประจำตระกูล เพื่อเป็นการแสดงถึงเจตนารมณ์ความตั้งใจในการจัดพิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษ

 

 

            เล่ากันว่า คำว่า “เทศกาลเชงเม้ง” (清明节)เริ่มต้นขึ้นในสมัยรางวงศ์ฮั่น ความเป็นมาของชื่อที่ว่า “เชงเม้ง” นั้นมาจากสภาพอากาศในเดือน 3 จะสดใสปลอดโปร่ง ดังนั้น จึงตั้งชื่อเทศกาลว่า เชงเม้ง (清明 จีนกลางออกเสียงว่า “ชิงหมิง”)ซึ่งหมายถึง “สดใสสะอาด” จนกระทั่ง สมัยราชวงศ์ถังถึงได้เปลี่ยนมาเป็นเทศกาลสำคัญของปี ในตอนแรกผู้คนเพียงแค่ทำ “ประเพณีเทศกาลหานสือ หรือประเพณีเทศกาลอาหารเย็น” เท่านั้น และมีการเพิ่มพิธีการทำความสะอาดสุสานในสมัยราชวงศ์ถัง

            แต่เนื่องจากว่าประเพณีอาหารเย็นนั้น ห้ามมีการจุดไฟใดๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น จักรพรรดิจึงได้มีพิธีกรรม “พระราชทานไฟในวันชิงหมิง” (清明赐火)ขึ้น พิธีนี้จะมีขึ้นในสมัยที่มีการเปลี่ยนองค์ประชุมของราชสำนัก โดยองครักษ์ประจำพระองค์จะนำก้านไม้อวี๋หลิว(榆柳) ที่ติดไฟไว้แล้วมาให้จักรพรรดิ แล้วพระองค์จะประทานให้กับกลุ่มขุนนาง เรียกเหตุการณ์นี้ว่า “ไฟใหม่” (新火)ถึงแม้ว่าก้านไฟที่กลุ่มขุนนางถือนั้นจะดับก่อนที่จะถึงบ้าน แต่เหล่าขุนนางก็จะใช้ก้านอวี๋หลิวเสียบไว้ที่หน้าประตูบ้านแทน พอถึงสมัยราชวงศ์ซ่งได้เปลี่ยนจากก้านไม้อวี๋หลิวเป็นเทียนเล่มใหญ่ ดังนั้น การติดไฟในเทศกาลเชงเม้งจึงเรียกว่า “ไฟใหม่”

การทำความสะอาดสุสาน

 

 

               การทำความสะอาดสุสานให้บรรพบุรุษนั้นลูกหลานจะทำความสะอาดโดยรอบบริเวณสุสานและนำก้อนหินวางทับบนกระดาษห้าสีบนหลุมฝังศพเพื่อแสดงว่าได้มีลูกหลานมาทำการเซ่นไหว้บูชาแล้ว

การเล่นว่าวในเทศการเชงเม้ง

 

 

          เทศกาลเชงเม้งตรงกับช่วงเวลาเดือน 3 (ตามปฏิทินจันทรคติ) ซึ่งเวลานั้น จะมีอากาศดีท้องฟ้าสดใส ในเทศกาลนี้นอกจากจะมีกิจกรรมทำความสะอาดสุสานแล้ว ยังมีกิจกรรมหนึ่งที่นิยมทำคือ การเล่นว่าว ในช่วงเทศกาลเชงเม้งสมัยก่อนโน้นจะพูดว่าเล่นว่าวไม่ได้ แต่จะเรียกว่า “ปล่อยว่าวนกเหยี่ยว” (放断鹞)แทน

เทศกาลอาหารเย็น (เทศกาลหานสือ-寒食节)

          ในสมัยโบราณ เทศกาลอาหารเย็นถือเป็นเทศกาลที่สำคัญมาก ซึ่งเป็นเทศกาลระลึกถึงเจี้ยจื่อทุย (介子推)ในสมัยชุนชิว(春秋)เทศกาลอาหารเย็นจะจัดก่อนหน้าวันเชงเม้ง 1-2 วัน ซึ่งในวันที่ห้ามมีการจุดไฟใดๆ ทั้งสิ้นจึงสามารถกินได้แต่อาหารเย็นและน้ำเย็นเท่านั้น พอถึงสมัยราชวงศ์ถัง(唐)ผู้คนเริ่มให้ความสนใจเทศกาลเชงเม้งมากขึ้น หลังจากนั้นเป็นต้นมา ผู้คนค่อยๆลืมเทศกาลอาหารเย็นไป

 

 

         ในสมัยโบราณนั้น จะมีการประกอบพิธีเชงเม้งด้วยการเซ่นไหว้บรรพบุรุษกันที่สุสานรวมหรือสุสานประจำตระกูล เพื่อเป็นการแสดงถึงเจตนารมณ์ความตั้งใจในการจัดพิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษ

 

 

            เล่ากันว่า คำว่า “เทศกาลเชงเม้ง” (清明节)เริ่มต้นขึ้นในสมัยรางวงศ์ฮั่น ความเป็นมาของชื่อที่ว่า “เชงเม้ง” นั้นมาจากสภาพอากาศในเดือน 3 จะสดใสปลอดโปร่ง ดังนั้น จึงตั้งชื่อเทศกาลว่า เชงเม้ง (清明 จีนกลางออกเสียงว่า “ชิงหมิง”)ซึ่งหมายถึง “สดใสสะอาด” จนกระทั่ง สมัยราชวงศ์ถังถึงได้เปลี่ยนมาเป็นเทศกาลสำคัญของปี ในตอนแรกผู้คนเพียงแค่ทำ “ประเพณีเทศกาลหานสือ หรือประเพณีเทศกาลอาหารเย็น” เท่านั้น และมีการเพิ่มพิธีการทำความสะอาดสุสานในสมัยราชวงศ์ถัง

            แต่เนื่องจากว่าประเพณีอาหารเย็นนั้น ห้ามมีการจุดไฟใดๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น จักรพรรดิจึงได้มีพิธีกรรม “พระราชทานไฟในวันชิงหมิง” (清明赐火)ขึ้น พิธีนี้จะมีขึ้นในสมัยที่มีการเปลี่ยนองค์ประชุมของราชสำนัก โดยองครักษ์ประจำพระองค์จะนำก้านไม้อวี๋หลิว(榆柳) ที่ติดไฟไว้แล้วมาให้จักรพรรดิ แล้วพระองค์จะประทานให้กับกลุ่มขุนนาง เรียกเหตุการณ์นี้ว่า “ไฟใหม่” (新火)ถึงแม้ว่าก้านไฟที่กลุ่มขุนนางถือนั้นจะดับก่อนที่จะถึงบ้าน แต่เหล่าขุนนางก็จะใช้ก้านอวี๋หลิวเสียบไว้ที่หน้าประตูบ้านแทน พอถึงสมัยราชวงศ์ซ่งได้เปลี่ยนจากก้านไม้อวี๋หลิวเป็นเทียนเล่มใหญ่ ดังนั้น การติดไฟในเทศกาลเชงเม้งจึงเรียกว่า “ไฟใหม่”

การทำความสะอาดสุสาน

 

 

               การทำความสะอาดสุสานให้บรรพบุรุษนั้นลูกหลานจะทำความสะอาดโดยรอบบริเวณสุสานและนำก้อนหินวางทับบนกระดาษห้าสีบนหลุมฝังศพเพื่อแสดงว่าได้มีลูกหลานมาทำการเซ่นไหว้บูชาแล้ว

การเล่นว่าวในเทศการเชงเม้ง

 

 

          เทศกาลเชงเม้งตรงกับช่วงเวลาเดือน 3 (ตามปฏิทินจันทรคติ) ซึ่งเวลานั้น จะมีอากาศดีท้องฟ้าสดใส ในเทศกาลนี้นอกจากจะมีกิจกรรมทำความสะอาดสุสานแล้ว ยังมีกิจกรรมหนึ่งที่นิยมทำคือ การเล่นว่าว ในช่วงเทศกาลเชงเม้งสมัยก่อนโน้นจะพูดว่าเล่นว่าวไม่ได้ แต่จะเรียกว่า “ปล่อยว่าวนกเหยี่ยว” (放断鹞)แทน

เทศกาลอาหารเย็น (เทศกาลหานสือ-寒食节)

          ในสมัยโบราณ เทศกาลอาหารเย็นถือเป็นเทศกาลที่สำคัญมาก ซึ่งเป็นเทศกาลระลึกถึงเจี้ยจื่อทุย (介子推)ในสมัยชุนชิว(春秋)เทศกาลอาหารเย็นจะจัดก่อนหน้าวันเชงเม้ง 1-2 วัน ซึ่งในวันที่ห้ามมีการจุดไฟใดๆ ทั้งสิ้นจึงสามารถกินได้แต่อาหารเย็นและน้ำเย็นเท่านั้น พอถึงสมัยราชวงศ์ถัง(唐)ผู้คนเริ่มให้ความสนใจเทศกาลเชงเม้งมากขึ้น หลังจากนั้นเป็นต้นมา ผู้คนค่อยๆลืมเทศกาลอาหารเย็นไป

 

 

         ในสมัยโบราณนั้น จะมีการประกอบพิธีเชงเม้งด้วยการเซ่นไหว้บรรพบุรุษกันที่สุสานรวมหรือสุสานประจำตระกูล เพื่อเป็นการแสดงถึงเจตนารมณ์ความตั้งใจในการจัดพิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษ

 

 

            เล่ากันว่า คำว่า “เทศกาลเชงเม้ง” (清明节)เริ่มต้นขึ้นในสมัยรางวงศ์ฮั่น ความเป็นมาของชื่อที่ว่า “เชงเม้ง” นั้นมาจากสภาพอากาศในเดือน 3 จะสดใสปลอดโปร่ง ดังนั้น จึงตั้งชื่อเทศกาลว่า เชงเม้ง (清明 จีนกลางออกเสียงว่า “ชิงหมิง”)ซึ่งหมายถึง “สดใสสะอาด” จนกระทั่ง สมัยราชวงศ์ถังถึงได้เปลี่ยนมาเป็นเทศกาลสำคัญของปี ในตอนแรกผู้คนเพียงแค่ทำ “ประเพณีเทศกาลหานสือ หรือประเพณีเทศกาลอาหารเย็น” เท่านั้น และมีการเพิ่มพิธีการทำความสะอาดสุสานในสมัยราชวงศ์ถัง

            แต่เนื่องจากว่าประเพณีอาหารเย็นนั้น ห้ามมีการจุดไฟใดๆ ทั้งสิ้น ดังนั้น จักรพรรดิจึงได้มีพิธีกรรม “พระราชทานไฟในวันชิงหมิง” (清明赐火)ขึ้น พิธีนี้จะมีขึ้นในสมัยที่มีการเปลี่ยนองค์ประชุมของราชสำนัก โดยองครักษ์ประจำพระองค์จะนำก้านไม้อวี๋หลิว(榆柳) ที่ติดไฟไว้แล้วมาให้จักรพรรดิ แล้วพระองค์จะประทานให้กับกลุ่มขุนนาง เรียกเหตุการณ์นี้ว่า “ไฟใหม่” (新火)ถึงแม้ว่าก้านไฟที่กลุ่มขุนนางถือนั้นจะดับก่อนที่จะถึงบ้าน แต่เหล่าขุนนางก็จะใช้ก้านอวี๋หลิวเสียบไว้ที่หน้าประตูบ้านแทน พอถึงสมัยราชวงศ์ซ่งได้เปลี่ยนจากก้านไม้อวี๋หลิวเป็นเทียนเล่มใหญ่ ดังนั้น การติดไฟในเทศกาลเชงเม้งจึงเรียกว่า “ไฟใหม่”

การทำความสะอาดสุสาน

 

 

               การทำความสะอาดสุสานให้บรรพบุรุษนั้นลูกหลานจะทำความสะอาดโดยรอบบริเวณสุสานและนำก้อนหินวางทับบนกระดาษห้าสีบนหลุมฝังศพเพื่อแสดงว่าได้มีลูกหลานมาทำการเซ่นไหว้บูชาแล้ว

การเล่นว่าวในเทศการเชงเม้ง

 

 

          เทศกาลเชงเม้งตรงกับช่วงเวลาเดือน 3 (ตามปฏิทินจันทรคติ) ซึ่งเวลานั้น จะมีอากาศดีท้องฟ้าสดใส ในเทศกาลนี้นอกจากจะมีกิจกรรมทำความสะอาดสุสานแล้ว ยังมีกิจกรรมหนึ่งที่นิยมทำคือ การเล่นว่าว ในช่วงเทศกาลเชงเม้งสมัยก่อนโน้นจะพูดว่าเล่นว่าวไม่ได้ แต่จะเรียกว่า “ปล่อยว่าวนกเหยี่ยว” (放断鹞)แทน

เทศกาลอาหารเย็น (เทศกาลหานสือ-寒食节)

          ในสมัยโบราณ เทศกาลอาหารเย็นถือเป็นเทศกาลที่สำคัญมาก ซึ่งเป็นเทศกาลระลึกถึงเจี้ยจื่อทุย (介子推)ในสมัยชุนชิว(春秋)เทศกาลอาหารเย็นจะจัดก่อนหน้าวันเชงเม้ง 1-2 วัน ซึ่งในวันที่ห้ามมีการจุดไฟใดๆ ทั้งสิ้นจึงสามารถกินได้แต่อาหารเย็นและน้ำเย็นเท่านั้น พอถึงสมัยราชวงศ์ถัง(唐)ผู้คนเริ่มให้ความสนใจเทศกาลเชงเม้งมากขึ้น หลังจากนั้นเป็นต้นมา ผู้คนค่อยๆลืมเทศกาลอาหารเย็นไป